Sunday, August 30, 2009

Nai Long Kartika



TAIPING - Shukarnor Abdul Mutalib, 60, kurang senang dengan kecaman segelintir masyarakat termasuk beberapa penulis blog yang memperlekehkan niat ikhlas anaknya, Kartika Sari Dewi, 32, untuk menjalani hukuman sebat akibat kesalahan minum arak.
Lebih mengecewakan beliau ialah ada pihak yang mempertikaikan asal-usulnya termasuk mendesak status kerakyatan keluarganya ditarik balik.
"Mereka mencemuh Kartika kononnya berasal dari negara jiran dan telah memalukan negara ini. Ekoran itu, kami sekeluarga telah didatangi pihak polis beberapa hari lalu bagi menyiasat latar belakang kami.
"Saya ingin tegaskan kami anak Melayu Perak jati dan merupakan keturunan Ngah Lamat iaitu bapa saudara Tengku Menteri Ngah Ibrahim yang merupakan salah seorang pembesar negeri ini," katanya.
Beliau berkata demikian kepada pemberita ketika membawa Kartika dan beberapa anaknya yang lain ke makam Ngah Ibrahim yang terletak di Kompleks Sejarah Matang dekat sini semalam.
Shukarnor memberitahu, beliau juga terlibat secara langsung dalam proses membawa pulang tulang-temulang Ngah Ibrahim dari Singapura ke Perak yang disempurnakan pada September 2006.

Sunday, August 9, 2009

Papan Tanda, Seribu Makna


Papan tanda di Patani ini menunjukkan arah ke Tokong Lim Koh Niau, Masjid Gerisik dan Watt Chang Hai. Ketiga-tiga tempat ibadat, tiga kepercayaan ini wujud beratus tahun dahulu, menunjukkan keharmonian antara agama wujud di sini sejak dulu.

Kenapa sekarang saling berbunuhan?

Tuesday, August 4, 2009

Jejak Luang Phor Thuard II





Gambar Geliga Ular Tedung Selar Luang Phor Thuard. Ia masih ada tersimpan di Watt Phak Khok



Memandang byk permintaan utk artikel Jejak Luang Phor Thuard ini, maka aku perturunkan maklumat yang aku dapat ini yang teks asalnya adalah dalam bahasa Thai. Bagi Siam Malaysia yang tak pandai bahasa Thai, teks dalam Bahasa Melayu akan menyusul kemudian. Kalau ada pembaca yang rajin nak translatekan ke Bahasa Melayu boleh juga berbuat demikian seterusnya email kpd aku utk dimuatkan dlm blog ini.

Teks dlm bahasa Thai ini bermula di lokasi ke 8 iaitu Watt Thung Kwai..

8.วัดโพธิเจติยาราม หรือวัดทุ่งควาย ต.ปาดังเกอร์เบา อ.เปิ้นดัง รัฐเคดาห์ สถานที่พักศพได้สร้างเจดีย์ครอบไว้ ซึ่งถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ชื่อว่าในสถูปมีอัฐิหลวงพ่อทวดบรรจุอยู่ สมัยก่อนหนังตะลุง-โนรา ผ่านทางนี้ต้องหยุดแสดงถวายสถานที่นี้เสียก่อน ใครไม่ทำถือว่าเป็นอัปมงคล

9.วัดลำปำ ตำบลรัมไม อำเภอเปิ้นดัง รัฐเคดาห์ เจ้าอาวาสเล่าว่าสถูปหรือหลักไม้แก่น ชาวบ้านเรียกว่า "เขื่อนหลวงพ่อทวด"ตั้งอยู่กลางวัดมีสภาพทรุดโรม จึงได้เคลื่อนย้ายไปตั้งบริเวณอื่น ตอนขุดได้พบหม้อทองแดง 1 ใบข้างในมีแผ่นเงินจารึกว่าสถานที่ตั้งศพหลวงพ่อทวด ได้นำไปฝังใกล้อุโบสถ แต่ไม่มีใครจำสถานที่ใหม่ได้

10.ควนกันข้าวแห้ง ต.เตอกายร์คีรี อ.ปาดังเอตรัป รัฐเคดาห์ ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นจุดพักศพ บนยอดควนมีการนำหินมาก่อเป็นกองเรียงกัน 4 กอง เป็นรูปทรงจอมปลวก เรียกว่าทวดชีขาว ด้านหน้าเป็นซุ้มรูปสี่เหลี่ยมเล็กๆ ภายในประดิษฐานรูปหล่อโลหะหลวงพ่อทวด คณะสำรวจเห็นว่าบนควนแห่งนี้สูงถึง100 เมตร ไม่น่าจะเป็นที่ตั้งศพ

11.บ้านปลักคล้า ต.นาคา อ.ปาดังเตอรัป รัฐเคดาห์ ที่พักศพตั้งอยู่ริมคลองชันใกล้กับวัดปลักคล้า (ร้าง) ที่ตั้งศพเป็นเนินดินจอมปลวก กลางเนินดินมีหลักไม้แก่นปักรูปบัวตูม ไว้เป็นหลักฐาน มีการก่อปูนล้อมรอบเนินดินเป็นรูปสี่เหลี่ยม นำรูปหล่อหลวงพ่อทวดประดิษฐานไว้ 1 องค์ และสร้างศาลาครอบ ชาวบ้านเรียกว่าเขื่อนหลวงพ่อทวด

12.บ้านนาข่า ต.นาคา อ.ปาดังเตอรัป รัฐเคดาห์ ใกล้กับจุดที่ 11 มาก เป็นเนินดินรูปจอมปลวกตรงกลางมีหลักไม้แก่นรูปดอกบัวตูม มีศาลามุงสังกะสีครอบ สภาพทรุดโทรมอยู่ในสวนยางของชาวบ้าน ชาวบ้านเรียกว่าเขื่อนหลวพ่อทวด

13.บ้านบางฉมัก ต.เปอร์ดู อ.ปาดังเตอร์รัป รัฐเคดาห์ มีการพักศพใกล้วัดประดู และปักหลักไม้แก่นไว้เป็นหลักฐาน สถานที่นี้ปัจจุบันอยู่ในสวนยางพาราชาวบ้าน ชาวบ้านเรียกเขื่อนหลวงพ่อทวด

14 .วัดดินแดง ต.กัวลานารัง อ.ปาดังเตอรัป รัฐเคดาห์ มีไม้แก่นปักเหมือนที่ผ่านมาแต่มีดินปลวกขึ้นปกคลุม มีการสร้างอาคารก่อิฐครอบเนินดินทรงสี่เหลี่ยมและหล่อรูปหลวงพ่อทวดขนาดใหญ่ไว้กราบไหว้บูชา

15.วัดไทยประดิษฐาราม ต.ปาดังสะไหน อ.ปาดังเตอรัป รัฐเคดาห์ หลักไม้แก่นเดิมทรุดโทรม ได้บูรณะใหม่เป็นเป็นหลักหินทรงบัวตูม สร้างศาลาก่ออิฐครอบ และหล่อรูปหลวงพ่อทวดไว้กราบไหว้บูชา ที่นี่เป็นจุดสุดท้ายในมาเลเซียก่อนเข้าไทย(สมัยก่อนยังไม่ได้แบ่งเขตอย่างนี้ )

16.บ้านถ้ำตลอด ต.เขาแดง อ.สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ชาวบ้านเชื่อว่ามีารพักศพที่นี่ เคยมีศาลาหลวงพ่อทวด บริเวณคลองสวนชาม บ้านปลักทะ มีศาลาครอบบเนินดิน แต่ปัจจุบันหักพังไปหมดแล้ว

17.วัดบันลือคชาวาส ต.ช้างให้ตก อ.โคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี หลักฐานพักศพเดิมเป็นเนินดินและหลักไม้แก่น แต่ต่อมามีการปรับที่ ทำให้ถูกทำลายไป ภายหลังทางวัดได้สร้างสถูปยอดบัวตูมด้วยปูนปั้นขึ้นใหม่ และหล่อรูปหลวงพ่อทวด สร้างมณฑปให้ชาวบ้านกราบไหว้บูชา

18. ศพหลวงพ่อทวดผ่านวัดทรายขาวและเขาตังเกียบ ในที่สุดถึงวัดช้างให้ ทำพิธีฌาปนกิจที่วัดช้าวให้ นำอัฐอบรรจุไว้ในเขื่อนและปักไม้แก่นเป็นหลักฐาน วัดช้างให้รกร้างไปหลายร้อยปี จน พ.ศ. 2508 หลวงพ่อทิมเป็นเจ้าอาวาส หลวงพ่อทวดแสดงอาภินิหารหลายครั้ง หลวงพ่อทิมจึงสร้างพระเครื่องหลวงพ่อทวด และบูรณะวัดช้างให้ ตลอดจนสถูปหลวงพ่อทวดขึ้นใหม่เป็นมณฑครอบสถูปเจดีย์ และหล่อรูปหลวงทวดไว้เป็นหลักฐานให้ประชาชนกราบไหว้มาจนปัจจุบัน